• อายุ 50 ถือว่า แก่ ไหม
    อายุ 50+ หน้าแก่เกินวัยทำไงดี คนอายุ 50 ในปัจจุบัน ไม่ใช่คนแก่เลย อย่างในประเทศญี่ปุ่น ถ้าจะนับว่าเป็นคนแก่คนส่วนใหญ่จะคิดถึงคนวัย 80+ แต่ด้วยเมืองไทยมีสภาพแวดล้อมและมลพิษค่อนข้างเยอะ ทำให้คน 50+ ในไทยดูหน้าแก่กว่าวัยได้ สิ่งที่ต้องคือ การนอนเพียงพอ, การทานอาหารที่มีประโยชน์, เลี่ยงแสงบลูไลท์, การลดความเครียด, การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และการหลีกเลี่ยงแสงแดด และต้องทาครีมกันแดด...
    0 ความคิดเห็น 0 Shares
  • อายุ 50 ทำไมเรียกว่า วัยทอง
    หลายคนเรียกว่า"วัยทอง" อายุตั้งแต่ 50-51 ปีเป็นต้นไป ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงไปทั้งร่างกาย อาทิระบบโครงกระดูก ต้องระวังเรื่องการหกล้ม  ระบบหัวใจ และหลอดเลือด ก็ต้องดูแลเป็นพิเศษ ระบบทางเดินปัสสาวะ จะเริ่มมีอาการฉี่เล็ด รวมถึงฮอร์โมนที่เปลี่ยนแปลงทำให้อารมณ์แปรปรวน ...
    0 ความคิดเห็น 0 Shares
  • อายุ 40 มองหนังสือไม่ชัด
    อายุ  40 สายตาพร่ามัว ไม่เสียตัวก็เสียเงิน อาการนี้ เกิดขึ้นได้จากความเสื่อมสายตาตามวัย ปัญหาสายตาพร่ามัวเกิดจากหลากหลายสาเหตุ มีดังนี้ สายตามัวจากปัญหาค่าสายตา ภาวะสายตาสั้น เป็นความผิดปกติทางค่าสายตา เคสที่หนักสุดคือ มองเห็นคนหน้ามีสิว มีฝ้า เต้มหน้าแต่กลับมองว่าหน้าเนียน อันนี้ไม่ได้โดนของแต่สายตาเราเองที่เป็นเหตุ หรือ ถ้าเป็นไม่หนักมากก็จะเห็น...
    0 ความคิดเห็น 0 Shares
  • ตา เบลอ มองไม่ชัด ข้างเดียว
    อายุ 40 มีปัญหาตาเบลอ มองไม่ชัด ตามัวจนใช่ชีวิตประจำวันลำบาก ตาพร่ามัวมองเห็นภาพซ้อน บางคนตามัวเหมือนมีหมอกขาวขุ่น ทำให้ต้องเพ่งสายตาและเกิดอาการปวดศีรษะตามมา หากใครที่กำลังประสบกับปัญหาตามัวข้างต้น หรือตาเบลอมองไม่ชัดข้างเดียว ไม่ควรปล่อยอาการตามัวไว้นาน อาจส่งผลทำให้อาการพร่ามัวสะสม จนนำไปสู่โรคร้ายแรงอย่าง โรคต้อกระจก แนะนำวิธีป้องกันสายตามัว สวมใส่แว่นกันแดด...
    0 ความคิดเห็น 0 Shares
  • คุณเห็นเลขอะไรในภาพนี้
    เมื่ออายุมากขึ้น สิ่งที่ตามมาคือสายตาที่พร่ามัว และมองเห็นได้ไมชัดเจน ดังในภาพนี้ เชื่อไหมครับว่าคนกว่า 60% แยกไม่ออกว่าคือเลขอะไร เพราะเมืื่ออายุมากขึ้น สายตาของเราก็มีโอกาสในการแยกแยะสีได้น้อยลง แต่อาจจะยังไม่ถึงขั้นตาบอดสี แต่เกิดจากอาการสายตาเบลอ ไปตามช่วงวัย แล้วคุณล่ะ แยกออกหรือเปล่า ถ้าดูลำบาก หรือต้องเพ่งสายตาในการดูเพื่อให้หาแว่นสายตา มาใส่ได้ครับ แต่ถ้าคุณใส่แว่นแล้วมีอาการเมา...
    0 ความคิดเห็น 0 Shares
  • ทดสอบการทำงานของจอประสาทตา
    จอประสาทตาเสื่อม ภัยร้ายที่หลายคนมองข้าม  โรคที่เกิดจากจอประสาทตาในลูกตาเสื่อมสภาพ จนไม่สามารถรับภาพได้ดีเท่าเดิม โรคจอประสาทตาเสื่อมนี้จะทำให้การมองเห็นแย่ลงเรื่อยๆ มองภาพบิดเบี้ยว มองเห็นสีได้น้อยลง การมองเห็นช่วงกลางภาพหายไป เมื่อถึงจุดหนึ่งจะสูญเสียการมองเห็นส่วนใหญ่ไปในที่สุด มา ทดสอบการทำงานของจอประสาทตากันเลย! มองภาพจากระยะ 30 ซม. สำหรับผู้ที่ต้องสวมแว่นอ่านหนังสือ...
    0 ความคิดเห็น 0 Shares
  • สายตา 20/20 คือสั้นเท่าไหร่
    สายตา 20/20 คือสั้นเท่าไหร่ หลายท่านที่เคยเข้ารับการตรวจตาที่คลินิกหรือโรงพยาบาลต่างๆ คงจะต้องเคยผ่านขั้นตอนการตรวจวัดระยะการมองเห็นเบื้องต้น หรือ visual acuity กันมาแล้ว หากใครที่ยังนึกไม่ออก ให้ลองนึกถึงขั้นตอนที่เจ้าหน้าที่ได้แจ้งให้เราปิดตาทีละข้างและอ่านตัวเลขที่ปรากฏอยู่บนหน้าจอ...เริ่มจะคุ้นกันขึ้นมาบ้างแล้วใช่มั้ยล่ะคะ  หลังจากที่เราอ่านตัวเลขเสร็จ...
    0 ความคิดเห็น 0 Shares
  • ค่าสายตากลับ ในคน 50+
    ยิ่งไกลยิ่งเหมือนใกล้ ความบรรลัยของคน 50+ เมื่อคนเข้าสู่วัยที่มากขึ้นมักจะพบว่าค่าสายตาระยะใกล้มีการเปลี่ยนแปลงโดยมาก มีคนที่เรียกค่าสายตาที่เพิ่มขึ้นว่า "ค่าสายตากลับ" มองชัดในระยะไกล แต่ใกล้ๆกลับมองไม่เห็น โดยค่าสายตาระยะใกล้มักจะเพิ่มขึ้นเมื่อคนเข้าสู่วัย 55 ขึ้นไป อย่างไรก็ตามเกือบทุกคนมักจะประสบกับปัญหานี้...
    0 ความคิดเห็น 0 Shares
  • เมารถเกิดจากอะไร ทำไมขับรถไม่เมา
    อาการเมารถเป็นสิ่งที่หลายๆคนเป็น โดยเฉพาะตอนเราไม่ได้ขับรถเอง ตัวอย่างง่ายๆ ว่า ขณะที่คุณขับรถอยู่ สมองจะตีความถนนที่อยู่ตรงหน้า เมื่อตาเห็นโค้ง สมองจะบอกให้เตรียมหักพวงมาลัยเพื่อเข้าโค้ง แรงเหวี่ยงของรถเป็นสิ่งที่สมองพอคาดเดาได้ ตรงกันข้ามกับคนที่นั่งหลังรถ สมองของเขาอาจจดจ่อกับสิ่งอื่น เมื่อรถเลี้ยวทันทีสมองก็ไม่ทันตั้งตัว ในขณะที่ร่างกายพยายามรักษาสมดุล...
    0 ความคิดเห็น 0 Shares
  • ปวดหัว ตาพร่ามัว อาจเป็นสัญญาณของโรคร้าย
    ปวดหัว ตาพร่ามัว บอกโรคร้ายได้ ถ้าคุณมีปวดหัว ตาพร่ามองไม่เห็นทันที อาจมีสาเหตุมาจากอะไรบ้าง? ภาวะตาพร่าธรรมดาอาจเกิดขึ้นเมื่อเราใช้สายตาหนักและหักโหมมากเกินไป แต่ถ้าเป็นภาวะที่เกิดขึ้นค่อนข้างถี่ขึ้นและมีอาการปวดหัว ตาพร่ามองไม่เห็นทันที อาจเป็นสัญญาณเตือนที่แสดงให้เห็นว่าเราอาจมีปัญหาที่ร้ายแรงกับระบบประสาทตา หรืออาจมีปัญหาทางการแพทย์อื่นๆ เช่นโรคหลอดเลือดสมอง...
    0 ความคิดเห็น 0 Shares